Home » อสังหาฯ บ้าน คอนโด ที่ดิน » การจัดการขยะมูลฝอย ในที่พักอาศัย

การบริหาร/ความรู้ทั่วไป

Web Design by Softbiz+


ว็บนี้ สร้างด้วย Joomla! 1.5 โดย ทีมงานซอฟท์บิส+ update11.11.2014

 
การจัดการขยะมูลฝอย ในที่พักอาศัย

ความหมายของที่พักอาศัย

          ที่พักอาศัย  หมายถึง  อาคารบานเรือน  รวมถึงตึก  โรง  และแพที่มนุษยจัดสรางขึ้นเพื่อใชเปนที่อยู อาศัยทั้งกลางวันและกลางคืน  ภายในที่อยูอาศัยประกอบดวยสิ่งตางๆ  ที่ตองการมี  ทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกสบาย  อุปกรณและสิ่งใชสอยที่จําเปนตามความตองการทางดานรางกาย  จิตใจ  และความเปนอยูที่ดีงาม  ทั้งสวนตัว  และครอบครัวของผูพักอาศัย

          ที่พักอาศัยถือ เปนปจจัยสําคัญในจํานวนปจจัยสําคัญ  4  อยางที่จําเปนสําหรับมนุษย  ที่พักอาศัยเปนสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอชีิวตความเปนอยูและสุขภาพของผูอาศัย  กลาวคือ  ถาจัดที่พักอาศัยใหมีสภาพที่ถูกตอง ตามหลักเกณฑทางดานสุขาภิบาล  ก็จะชวยใหผูอยูอาศัยมีความสุขทั้งทางรางกายและจิตใจแตถาเปนไปในทางตรงกันขาม  นอกจากจะไมชวยสงเสริมใหรางกายและจิตใจมีสุขภาพดีแลว  ยังอาจจะเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดโรคติดตออันเนื่องมาจากสิ่งแวดลอมตางๆ ของที่พักอาศัยนั้นได
 

ความหมายของการจัดการขยะมูลฝอย

           การจัดการขยะมูลฝอย  หมายถึง  หลักในการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับการควบคุมการทิ้งขยะมูลฝอย  การเก็บขยะช่ัวคราวไวในภาชนะ  การรวบรวมขยะมูลฝอย  การขนถายและการขนสง   การแปลงรูปของขยะมูลฝอย  และการกําจัดขยะมูลฝอย  โดยจะคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดในทางสุขอนามัย  ทัศนียภาพ  เศรษฐศาสตรการอนุรักษสิ่งแวดลอมและการยอมรับของสังคม 

1.  การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยในที่พักอาศัย

           การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยในที่พักอาศัย  ผูอยูอาศัยจะเปนผูกําหนดตําแหนงที่ตั้งถังขยะไวตามจุดตางๆ  ในบริเวณที่พักอาศัยเอง  ถังขยะที่ใชในที่พักอาศัยควรมีนํ้าหนักเบา สามารถยกไปขนถายไดงาย และไมหนักแรงเกินไป  ประเภทของถังขยะที่ใชกันมาก  คือ  ถังพลาสติก  และถังเหล็กชุบสังกะสี  ซึ่งมีขนาดบรรจุตั้งแต  50  ลิตรขึ้นไป  จนถึง  150  ลิตร  ซึ่งแลวแตผูใชจะชอบใชประเภทใด  ถังเหล็กชุบสังกะสีเหมาะที่จะตั้งอยูนอกบานเพราะมีความคงทนแข็งแรงสูงกวา  ในขณะที่ถังพลาสติกนิยมใชกันมาก  มีความคงทนแข็งแรงพอสมควร  และแลดูสวยงาม  เหมาะที่จะตั้งไวภายในบานมากกวานอกบาน

           สําหรับชุมชนที่เปนลักษณะบานพักอาศัยอยูติดกันเปนกลุม  เชนบานจัดสรรหรือตึกแถว  แบงการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยเปน  2  ลักษณะ  ไดแก  การใชถังขยะของบานแตละหลัง  โดยมีเทศบาลมาบริการเก็บขนขยะ  ซึ่งในกรณีนี้มักนิยมใชถังขยะขนาดตั้งแต100  ลิตรขึ้นไปจนถึงขนาด  200  ลิตร  สวนลักษณะที่สองเปนการติดตั้งถังขยะรวมของชุมชนไวเปนจุดๆ  เพื่อแตละบานมาขนถายขยะไวในที่ถังขยะรวมได  ซึ่งกรณีนี้นิยมใชถังขยะรวมขนาดใหญ  โดยสวนใหญมักเปนถังคอนเทรนเนอรขนาด  3  ลบ.ม.
 

2.  การเก็บขนขยะมูลฝอยในที่พักอาศัย

          การเก็บขนขยะมูลฝอยในที่พักอาศัย    ผูเปนเจาของสถานที่พักอาศัยนั้นจะตองเปนผูจัดเก็บและรวบรวมขยะมูลฝอยมารวมไวที่จุดรวบรวมขยะมูลฝอย  เพื่อรอการเก็บขนสงไปกําจัด  โดยในปจจุบันการเก็บขนขยะมูลฝอย  สวนใหญมักเปนหนาที่ของเทศบาลในพื้นที่นั้นๆ เปนผูดูแลรับผิดชอบ  แตในบางพื้นที่ไดมีการวาจางบริษัทเอกชนทําหนาที่ในการเก็บขนขยะมูลฝอย   หรือวาจางประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณนั้นเปนผูดําเนินการก็มี

          2.1  ระบบเก็บขนขยะมูลฝอยในที่พักอาศัย
          ระบบเก็บขนขยะมูลฝอยในที่พักอาศัย  ใชระบบถังขยะประจําที่ ( Stationary
Container  System )  ซึ่งระบบถังขยะประจําที่นี้  เปนระบบที่ใชกันอยูท่ัวไป  เชน  ถังขยะบริเวณหนาอาคาร  ที่พักอาศัย  เปนตน  รูปแบบของระบบถังขยะประจําที่เปนการวางถังขยะที่จุดที่มีการทิ้งขยะเปนประจํา  แลวใหรถเก็บขนขยะของทางเทศบาลหรือหนวยงานที่ไดรับมอบหมายมาถายเทแตละถังลงยังรถเก็บขนขยะ และวางถังขยะที่ถายเทแลวไวที่เดิม  ระบบนี้เปนระบบที่ใชในการรวบรวมขนขยะมูลฝอยได ทุกประเภท  ในการเลือกใชระบบนี้ตองคํานึงถึงจํานวนจุดที่ตั้งถังขยะอีกดวย  อุปกรณที่ใชกับระบบนี้ไกแก เครื่องอัดขยะ  ซึ่งมี2 รูปแบบไดแก  ระบบอัดขยะที่ขนถายขยะมูลฝอยจากถังขยะดวยเครื่อง  และระบบอัดขยะที่ขนถายขยะมูลฝอยจากถังขยะดวยคน

           2.2  รถที่ใชในระบบขนถังขยะ  แบงไดเปน  3  รูปแบบ  คือ    

                  -  ระบบยกถังขยะ  ( Hoist  Truck  System )  ใชสําหรับยกถังขยะขนาดใหญและมีความจุมาก   มักจะใชในการเก็บขยะเปนจุดๆ และใชในการขนขยะมูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม  โดยเฉพาะขยะมูลฝอยจําพวกเศษโลหะ  ขยะมูลฝอยจากการกอสราง  เปนตน  ซึ่งขยะดังกลาวไมเหมาะสมในการเก็บขนโดนใชรถที่มีเครื่องอัดขยะ

                   -  ระบบยกถังขยะโดยมีโครงเหล็กเอียง  ( Tilt – Frame  Container  System ) เปนระบบที่ใชสําหรับถังขยะประเภทตูบรรทุกขยะที่มีขนาดใหญ  ซางมีความจุในชวง  10– 30  ลบ.ม. ถังชนิดนี้มักใชบรรจุขยะมูลฝอยจากแหลงที่มีปริมาณขยะมูลฝอยมากๆ  เชนโรงงานอุตสาหกรรม  เปนตน  การถายขยะมูลฝอยจากตูบรรทุกสามารถทําไดโดยเอียงโครงเหล็กที่รองรับตูบรรทุกขยะอยูดวยระบบไฮโดรลิก  ลักษณะของระบบยกถังขยะโดยมีโครงเหล็กเอียงนี้มีหลายรูปแบบและหลายขนาด  ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะในการนําไปใชงานกับขยะมูลฝอยแตละประเภท  เชน  แบบตูฝาเปดเหมาะสําหรับบรรทุกขยะมูลฝอยจากการกอสราง  เศษโลหะชิ้นใหญๆ หรือขยะอื่นๆ ที่มีขนาดใหญและไมสามารถอัดได  เปนตน

                  -  ระบบรถพวง  ( Trash – Tailer  System )  สําหรับหารรวบรวมขนขยะมูลฝอยของระบบนี้คลายกับระบบยกถังขยะโดยมีโครงเหล็กเอียง    เหมาะสําหรับกับการขนขยะมูลฝอยที่มียํ้าหนักมากๆ ซึ่งระบบนี้จะใชงานได ีด  เชน  การขนหิน  ทราย  ทอนไม  เปนตน

 

3. การกําจัดขยะมูลฝอยจากที่พักอาศัย

           การกําจัดขยะที่ถูกหลักสุขาภิบาล  มักนิยมใช  3  วิีธี

1.  การเผา (Incineration)
2.  การฝงกลบ  (Sanitary  landfill)
3.  การนําไปทําปุย  (Composting  method)

           1.  การเผา  ( Incineration )  เปนการกําจัดขยะโดยการเผาดวยเตาเผาขยะไมใชการกองขยะแลวเผากลางแจง  ทั้งนี้เพราะการเผากลางแจงจะทําใหอุณหภูมิไมพอที่จะทําใหเกิดการเผาไหมสมบูรณ  ทําใหเกิดกลิ่นควันและละอองควันเตาเผาขยะจะมีความรอนระหวาง  676 –1100 องศาเซลเซียส  ทําใหเกิดการเผาไหมสมบูรณ  ขอดีของเตาเผาขยะก็คือ  ใชพื้นที่นอย  สามารถสรางในพื้นที่ซึ่งไมตองหางไกลจากแหลงกําเนิดขยะมากนัก  ทําใหประหยัดคาขนสง  และสามารถทําลายขยะไดเกือบทุกชนิด  แตมีขอเสียที่คากอสรางและบํารุงรักษาคอนขางสูง
 

                เตาเผาที่ออกแบบและสรางถูกตองควรมีคุณสมบัติ คือ               

                1.1  ตองมีหองเผาหลายหองในเตาเดียวกัน  (Multiple  Chamber  Design)  เพื่อใหสารระเหยซึ่งเปนกาซพิษที่เกิดจากหองที่หนึ่งแลวผานไปในหองที่สอง  เพื่อเผาใหม ีอกที  โดยการผสมกับอากาศในเวลาเพียงพอ  และอุณหภูมิเกิน 800 องศาเซลเซียส  การเผาไหมจึงจะสมบูรณ  กําจัด
กลิ่นและควันทิ้งไปหมดสิ้น

                1.2  การจายลมเขาเตาเผา  ควรเปนแบบ  Overfire - Air  คือ  ใหอากาศเขาเตาระดับเหนือกองขยะ  หรือหากจายดานขางแลวตองจายในทิศทางตามแนวนอน  เพราะถาใหอากาศลอดจากขางใตขยะจะทําใหเกิดกาซระเหยมากและทําให ีข้เถาลอยตัวจากกองขยะออกทางปลองเปนปญหาสิ่งแวด
ลอมได

                1.3  มีการทําใหอากาศรอนที่จะออกจากปลองควันเย็นลง  โดยการพพนนํ้าใหเปนฝอยเขาไปทําใหกาซที่ระบายออกเย็นลง  เรียก  Atomization  Cooling

             2.  การฝงกลบ  ( Sanitary   Landfill )  เปนวิ ีธการกําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกตองตามหลักสุขาภิบาล  และเปนที่นิยม  เนื่องจากสามารถกําจัดขยะหลายอยางปนกันไปโดยไมตองคัดแยกออกและสามารถปรับปรุงพื้นที่เพื่อใชประโยชนได

                  การฝงกลบขยะมูลฝอยมี  2 แบบ คือ

                  2.1  แบบถมที่  ใชการถมขยะบริเวณที่เปนพื้นที่ตํ่าอยูแลวแตตองการถมใหสูงขึ้น  เชนบอดินลูกรังริมตลิ่ง  เหมืองราง   

                  2.2  แบบขุดรอง  ใชสําหรับพื้นที่ราบจึงตองใชวิีธขุดรองกอน  โดยใหมีความกวางอยางนอยประมาณ  2  เทาของขนาดเครื่องจักรกลที่ใช  สวนความลึกตองไมใหถึงระดับนํ้าใตดินสวนมากขุดลึกประมาณ  2- 3 เมตร

           3.  การนําไปทําปุย ( Composting  method )  เปนการนําขยะมูลฝอยที่เปนพวกสาร อินทรียที่ยอยสลายไดมากําจัดโดยวิีธหมัก  เพื่อใชปฏิกริยาการยอยสลายของจุลินทรีย  ชวยทําใหขยะดังกลาวสลายตัวสมบูรณจะไดกากที่เหลือเปนผลผลิตซึ่งจะมีสารประกอบที่มีประโยชนตอพืช  เชน  พวกสารประกอบไนโตรเจน   ฟอสฟอรัส  และโปรแตสเซียม

 

4. การคัดแยกขยะมูลฝอยในที่พักอาศัย  

        4.1  ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย

                ( 1 )  ถังขยะ  เพื่อใหการจัดเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและลดการปนเปอนของขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพในการนํากลับมาใชประโยชนใหม  จะตองมีการตั้งจุดรวบรวมขยะมูลฝอย  ( Station ) และใหมีการแบงแยกประเภทของถังรองรับขยะมูลฝอยตามสีตางๆ  โดยมีถุง
บรรจุภายในถังเพื่อความสะดวกและไมตกหลน  หรือแพรกระจายดังนี้

  • สีเขียว   รองรับขยะมูลฝอยที่เนาเสียและยอยสลายไดเร็ว   สามารถนํามาหมักทําปุยได  เชน  ผัก  ผลไม  เศษอาหาร  ใบไม   เปนตน
  • สีเหลือง  รองรับขยะที่สามารถนํามารีไซเคิลหรือขายได  เชน  แกว  กระดาษ  โลหะ  พลาสติก  เปนตน
  • สีเทาฝาสีสม  รองรับขยะที่มีอันตรายตอสิ่งมี ีช ิวตและสิ่งแวดลอม  เชน  หลอดฟลูออเรสเซนต   ขวดยา  ถานไฟฉาย  กระปองสีสเปรย  กระปองยาฆาแมลง  เปนตน
  • สีฟา   รองรับขยะมูลฝอยที่ยอยสลายไมได  ไมเปนพิษและไมคุมคาการรีไซเคิล  เชน  พลาสติกหอลูกอม  ซองบะหมี่สําเร็จรูป  โฟมและฟอลยที่เปอนอาหาร  เปนตน

                         นอกจากนี้ยังถุงพลาสติกสําหรับรองรับขยะมูลฝอยในแตละถัง  โดยมัดปากถุงสีเดียวกับถังที่รองรับขยะมูลฝอยตามประเภทดังกลาวขางตน
                        ในกรณีที่สถานที่มีพื้นที่จํากัดในการวางภาชนะรองรับขยะมูลฝอย  และมีจํานวนคนที่คอนขางมากในบริเวณพื้นที่นั้น ควรมีถังที่สามารถรองรับขยะมูลฝอยไดทั้ง  4  ประเภทในถังเดียวกัน  โดยแบงพื้นที่ของถังขยะมูลฝอยออกเปน  4  ชอง  และตัวถังรองรับขยะมูลฝอยทําดวยสแตนเลส  มีฝาปดแยกเปน  4 สี  ในแตละชองตามประเภทของขยะมูลฝอยที่รองรับ  ดังนี้ 

  • ฝาสีเขียว  รองรับขยะมูลฝอยที่เนาเสียและยอยสลายไดเร็ว 
  • ฝาสีเหลือง  รองรับขยะที่สามารถนํามารีไซเคิลหรือขายได 
  • ฝาสีแดง  รองรับขยะที่มีอันตรายตอสิ่งมี ีชวิตและสิ่งแวดลอม 
  • ฝาสีฟา  รองรับขยะยอยสลายไมได  ไมเปนพิษและไมคุมคาการรีไซเคิล 

                              โดยจัดใหมีสัญลักษณ  หรือปายบอกที่ขางของแตละถัง

                ( 2 ) ถุงขยะ  สําหรับคัดแยกขยะมูลฝอยในที่พักอาศัยจะตองมีการคัดแยกรวบรวมใสรถขยะมูลฝอย  โดยใชถุงตามสีตางๆ  ดังตอไปนี้

  • ถุงสีเขียว   รวบรวมขยะมูลฝอยที่เนาเสียและยอยสลายไดเร็ว  สามารถนํามาหมักทําปุยได  เชน  ผัก  ผลไม  เศษอาหาร  ใบไม  เปนตน
  • ถุงสีเหลือง  รวบรวมขยะมูลฝอยที่สามารถนํามารีไซเคิลหรือขายได  เชน  แกว  กระดาษ  โลหะ  พลาสติก อลูมิเนียม  เปนตน
  • ถุงสีแดง   รวบรวมขยะมูลฝอยที่มีอันตรายตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม  เชน  หลอดฟลูออเรสเซนต   ขวดยา  ถานไฟฉาย  กระปองสีสเปรย  กระปองยาฆาแมลง  เปนตน
  • ถุงสีฟา  รวบรวมขยะมูลฝอยที่ยอยสลายไมได  ไมเปนพิษและไมคุมคาการรีไซเคิล  เชน  พลาสติกหอลูกอม  ซองบะหมี่สําเร็จรูป  โฟมและฟอลยที่เปอนอาหาร  เปนตน

    4.2  เกณฑมาตรฐานภาชนะรองรับขยะมูลฝอย

               ( 1 )  ควรมีสัดสวนของถังขยะมูลฝอยจากพลาสติกที่ใชแลวไมตํ่ากวารอยละ  50  โดยนํ้าหนัก
               ( 2 )  ไมมีสวนประกอบสารพิษ  ( toxic  substances )  หากจําเปนควรใชสารเติมแตงในปริมาณที่นอยและไมอยูในเกณฑที่เปนอันตราย
               ( 3 )  มีความทนทาน  แข็งแรงตามมาตรฐานสากล
               ( 4 )  มีขนาดพอเหมาะ  มีความจุเพียงพอตอปริมาณขยะมูลฝอย  และสะดวกตอการถายเทขยะมูลฝอยและการทําความสะอาด
               ( 5 )  สามารถปองกันแมลงวัน  หนู  แมว  สุนับ  และสัตวอื่นๆ  มิใหสัมผัสหรือคุยเขี่ยขยะมูลฝอยได้


http://www.phcpl.com/download/phb/bin.pdf