Web Design by Softbiz+
|
เว็บนี้ สร้างด้วย Joomla! 1.5 โดย ทีมงานซอฟท์บิส+ update11.11.2014 |
สารนิพนธ์ ปัจจัยที่มีผลต่อผลประกอบการของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเทศไทย |
ปัจจัยที่มีผลต่อผลประกอบการของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ผู้ศึกษาค้นคว้า ประการ มาถาวร
ประเภทสารนิพนธ์ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง บธ.ม. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 บทคัดย่อจุดมุ่งหมายของการศึกษาเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ราคาน้ำมันในตลาดโลก อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง ดัชนีราคาที่อยู่อาศัย และสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ ที่มีผลต่อผลประกอบการของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยผลประกอบการที่ศึกษาคือ รายได้ และจัดเป็นตัวแปร 4 แบบ คือ แบบที่ 1 รายได้รวมของบริษัทที่ประกอบธุรกิจขายบ้านและคอนโด แบบที่ 2 รายได้รวมของบริษัทที่ประกอบธุรกิจขายบ้านแบบที่ 3 รายได้รวมของบริษัทที่ประกอบธุรกิจขายคอนโด แบบที่ 4 รายได้รวมของทั้งหมด 6 บริษัทที่ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยใช้ข้อมูลในช่วงระยะเวลา เป็นรายไตรมาส ตั้งแต่ ไตรมาสที่ 1 ปี 2544 ถึง ไตรมาสที่ 2 ปี 2552 รวมระยะเวลา 34 ไตรมาส ซึ่งในการศึกษานี้จะใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนาโดยอาศัยค่าสถิติ ตัวเลขต่างๆ ในรูปของร้อยละ ประกอบตารางอธิบายและใช้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ Correlation เทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัย Factor Analysis และเทคนิคการสร้างสมการความถดถอย Simple Regression Analysis ผลการศึกษาพบว่า ราคาน้ำมันในตลาดโลก ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง ดัชนีราคาที่อยู่อาศัยและสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ มีความสัมพันธ์กัน และมีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามด้านรายได้ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ทั้ง 4 แบบ ส่วนอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ไม่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรใดๆ จึงนำตัวแปรต้น ทั้ง 4 ตัวมาจัดตัวแปรด้วยวิธีการวิเคราะห์ปัจจัย Factor Analysis ได้ตัวแปรใหม่ที่ชื่อว่าปัจจัยด้านรายได้ของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างมีน้ำหนักต่อตัวแปรปัจจัยธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มากที่สุด จากนั้นจึงนำไปสร้างสมการพยากรณ์แนวโน้ม ซึ่งจากการสร้างและการทดสอบสมการ และการวิเคราะห์แนวโน้มนั้นพบว่า สภาวะของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่มีแนวโน้มด้านรายได้ที่เพิ่มมากขึ้นและมีทิศทางไปในทางเดียวกันทั้งหมด เนื่องมาจากสภาวะธุรกิจอยู่ในช่วงระยะเวลาการฟื้นตัวนั่นเอง Download http://www.nubkk.nu.ac.th/library/mba/53/MBA53-IS106.pdf
เนื้อหา บางส่วนบทนำความเป็นมาของปัญหาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทยมีความสาคัญกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยพิจารณาได้จากสัดส่วนมูลค่าทางเศรษฐกิจของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ต่อมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) มากถึงประมาณร้อยละ 40 เนื่องจากเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับสิ่งจาเป็นสาหรับมนุษย์ มีความสัมพันธ์กับภาคเศรษฐกิจอื่นๆ เพราะมีการพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากหลากหลายสาขาเศรษฐกิจ รวมถึงเป็นธุรกิจที่สามารถดาเนินการได้ง่ายและให้ผลตอบแทนที่สูงในระยะยาว ทาให้ผู้ที่มีเงินทุนแม้ไม่มีความชานาญก็ให้ความสนใจในการลงทุนและประกอบธุรกิจในด้านนีเ้ป็นจานวนมาก ในอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์จึงมีทัง้ ผู้ซือ้ และผู้ขาย ทัง้ ผู้ที่มีความต้องการที่แท้จริงที่ต้องการที่อยู่อาศัยเป็นของตนและผู้ที่ต้องการลงทุน ประกอบธุรกิจ หรือการเก็งกาไร ฉะนั้น เมื่อเศรษฐกิจมีการขยายตัว ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จะมีอัตราการเติบโตที่ดีและรวดเร็ว จนในบางช่วงเวลาก็เข้าสู่สภาวะฟองสบู่ นนั่ คือ สภาวะที่มีการเก็งกาไรหรือมีการซือ้ เพียงแค่ต้องการขายต่อในราคาที่สูงกว่าราคาทุน ซึ่งไม่ใช่ความต้องการที่แท้จริง และหากเศรษฐกิจอยู่ในสภาวะตกต่า ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ก็จะตกต่าลงอย่างรวดเร็วเช่นกัน เนื่องจากกาลังซือ้ ของทั้งคนที่ต้องการที่แท้จริงและคนที่เข้ามาลงทุนจะหายไปนั่นเอง ยุคเริ่มแรกที่มีการเปิดประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ดึงดูดนักลงทุนจากต่างชาติให้เข้ามาลงทุนทาให้เศรษฐกิจของไทยมีพัฒนาการที่รวดเร็ว ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จึงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง สามารถพัฒนาธุรกิจจากอุตสาหกรรมครอบครัวสู่การเป็นบริษัทมหาชน เข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ ทาให้อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์มีความคึกคักราคาหุ้นพุ่งสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง เกิดการเก็งกาไรอสังหาริมทรัพย์และราคาหุ้นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จนกระทั่งในปี 2540 ประเทศไทยต้องประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ซึ่งสาเหตุที่เกิดขึน้ กล่าวได้ว่า เกิดจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่สมดุล ไม่คานึงถึงการเติบโตที่มีประสิทธิภาพ และ การขาดกฎเกณฑ์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ทาให้มีการขยายตัวอย่างไม่เหมาะสม เช่น การรับรู้รายได้ทางบัญชีเมื่อลูกค้าจองทัง้ ที่ยังไม่มีการซือ้ ธุรกิจบันทึกรายได้ล่วงหน้า ทัง้ ที่ยังไม่มีการซือ้ ที่แท้จริงจากลูกค้า การก่อสร้ างอาคารสานักงานที่มากเกินความต้องการที่แท้จริง รวมถึงการปล่อยสินเชื่อให้กับภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีการควบความเสี่ยงที่ดี เป็นต้น ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จึงตกอยู่ในสภาวะฟองสบู่ เกิดอุปสงค์และอุปทานเทียมในตลาดเป็นจานวนมาก ซึ่งในที่สุดเมื่อเกิดสภาวะฟองสบู่แตก โครงการจานวนมากต้องยกเลิก เนื่องจากลูกค้าที่ยกเลิกการจอง ทาให้รายได้ที่ธุรกิจคาดว่าจะได้รับและบันทึกทางบัญชีไปแล้วนัน้ ต้องยกเลิก รายได้ของธุรกิจจึงติดลบ และเมื่อเศรษฐกิจอยู่ในสภาวะซบเซา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จึงอยู่ในสภาวะตกต่าอย่างรุนแรง
ในปัจจุบัน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มีการพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึน้ มีการปรับปรุงแนวทางการดาเนินธุรกิจที่เน้นความมนั่ คง และประสิทธิภาพมากขึน้ เช่น เกณฑ์การรับรู้รายได้เมื่อโอนให้กับลูกค้า การควบคุมการก่อสร้างอาคารตามกฎหมาย และการกาหนดกฎเกณฑ์การปล่อยสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพย์ที่มีความเข้มงวดมากขึน้ แต่จากปั จจัยทางเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลานัน้ ทาให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ต้องประสบกับความผันผวนตลอดเวลาและยากต่อการควบคุม ทัง้ ผู้ประกอบการ นักลงทุน หรือทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องต่างก็จาเป็ นจะต้องหาปัจจัยที่มีผลต่อธุรกิจและผลกระทบใหม่ๆที่เกิดขึน้ ตลอดเวลา โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดอย่างกรณี วิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึน้ ในอเมริกา ซึ่งมีสาเหตุจากสภาวะฟองสบู่ในภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และเกิดผลกระทบในด้านอื่นๆต่อเศรษฐกิจในหลายประเทศทั่วโลกตามมา ทาให้
ทั้งที่มีบทเรียนด้านวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึน้ ใน ปี 2540 มาก่อน และมีการเรียนรู้ ถึงสาเหตุของวิกฤตเิ ศรษฐกิจต่างๆในอดีตที่ผ่านมาแล้วนัน้ แต่ก็เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกขึน้ ในปี 2551 ซึ่งมีจุดเริ่มต้นที่ประเทศอเมริกา โดยที่สาเหตุก็เกิดจากสภาวะฟองสบู่อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์และตลาดสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ ฉะนัน้ ในการศึกษานีจึ้งมุ่งวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ของภาคอสังหาริมทรัพย์กับระบบเศรษฐกิจไทย โดยตัง้ สมมติฐานปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลประกอบการของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ คือ ราคานา้ มันในตลาดโลก อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง ดัชนีราคาที่อยู่อาศัย และสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพย์ เนื่องจาก ปัจจัยเหล่านีมี้ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ในวงกว้างและมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจด้วย โดยมุ่งศึกษากับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เนื่องจากบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ที่ได้นามาศึกษานี ้ เป็ นบริษัทขนาดใหญ่ มีชื่อเสียง มีข้อมูลประกอบการศึกษารวมถึงมีประวัติการทาธุรกิจมายาวนานและผ่านยุควิกฤติเศรษฐกิจไทย จึงถือเป็นตัวแทนด้านข้อมูลของบริษัทที่ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทยที่นามาศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจลงทุนของนักลงทุนที่ลงทุนอยู่ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และเป็ นข้ อมูลให้ กับผู้ประกอบการที่จะนาไปใช้ ในการตัดสินเริ่มโครงการอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ รวมถึงช่วยให้ภาครัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นาข้อมูลที่ศึกษานีไ้ ปใช้ในการวางแผนนโยบาย หรือคาดการณ์ทิศทางโดยรวมของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เพื่อป้ องกันวิกฤติเศรษฐกิจมิให้เกิดขึน้ ซา้ รอยเดิมในยุควิกฤติในอดีต หรือวิกฤติเศรษฐกิจอเมริกาในปัจจุบัน จุดมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ที่ผ่านมาในอดีตระหว่าง ราคานา้ มันในตลาดโลก อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง ดัชนีราคาที่อยู่อาศัย และสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพย์ ที่มีต่อผลประกอบการบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ รายได้ของบริษัท ขอบเขตของการวิจัยการศึกษาในครั้งนี ้ เพื่อให้งานวิจัยมีประสิทธิภาพ ชัดเจน และสามารถนาไปใช้ได้จริงตรงตามวัถตุประสงค์ จึงกาหนดขอบเขตงานวิจัย ดังนี ้ 1. ใช้ข้อมูลด้านตัวเลขราคานา้ มันในตลาดโลก อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง ดัชนีราคาที่อยู่อาศัย และสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพย์ ที่สามารถรวบรวมได้ จากธนาคารแห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยข้อมูลที่นามาศึกษา คือข้อมูลรายไตรมาส ในระหว่างปี 2544 – 2552 2. ใช้ข้อมูลผลประกอบการของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งเผยแพร่ข้อมูลผ่านระบบ www.setsmart.com คือ รายได้ ของบริษัท โดยพิจารณาถึงบริษัทที่ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์ พบว่ามีจานวน 60 บริษัท (ข้อมูล ณ วันที่ 19 กันยายน 2552) ซึ่งจะอยู่ในหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยในจานวนนี ้ เป็นบริษัทที่ประกอบ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัย มีรายได้รวมตัง้ แต่ 5 พันล้านบาทขึน้ ไป และมีข้อมูลผลประกอบการย้อนหลังถึงปี 2544 ทัง้ หมด 6 บริษัท ดังนี้
2.1 บริษัท แลนด์แอนด์เฮ้าส์ จากัด (มหาชน) อักษรย่อในตลาดหลักทรัพย์ คือ LH
นิยามศัพท์เฉพาะ
2. อสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ที่ดิน ทรัพย์อันติดกับที่ดิน หรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน รวมทัง้ สิทธิทัง้ หลายอันเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดินด้วย จากนิยามดังกล่าว อาจแบ่งอสังหาริมทรัพย์ออกได้ดังนี ้ 2.1 ที่ดิน หมายถึง พืน้ ดินทั่วไป รวมทัง้ ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บางลานา้ทะเลสาบ เกาะและที่ชายทะเลด้วย
2.2 ทรัพย์อันติดกับที่ดิน ได้แก่ ไม้ยืนต้น อาคาร โรงเรือน หรือ สิ่งก่อสร้างบนที่ดินเช่น บ้าน คือ สิ่งก่อสร้ างที่ปลูกอยู่หลังเดียวโดด ๆ พร้อมทัง้ เรือนครัว โรงรถ เรือนคนใช้ด้วยถ้ามีและเป็นที่อยู่อาศัยของบุคคลในครัวเรือนเดียวกัน หรือบ้านที่ปลูกอยู่หลายหลังภายในบริเวณรั้วเดียวกัน และเป็นที่อยู่อาศัยของบุคคลภายในครัวเรือนเดียวกัน ทาวน์เฮาส์ คือ ตึกที่ปลูกติดต่อกันตัง้ แต่ 2 หน่วยขึน้ ไป โดยมีฝาร่วมกันด้านหนงึ่ หรือสองด้านขึน้ ไปอาจเป็นชัน้ เดียวหรือหลายชัน้ ก็ได้ 2.3 ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็ นอันเดียวกับที่ดิน ได้แก่ แม่นา้ ลาคลอง แร่ธาตุ กรวดทราย ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ หรือซงึ่ มนุษย์นามารวมไว้กับที่ดินจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของพืน้ ดินตามธรรมชาติ 2.4 สิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ได้แก่ กรรมสิทธิ์ในที่ดินที่มีโฉนดสิทธิครอบครองในที่ดินที่ไม่มีโฉนดภาระจายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพืน้ ดิน
3. ดัชนีราคาที่อยู่อาศัย หมายถึง ดัชนีราคาบ้าน (HPI : Housing Price Index) ซึ่งจัดทาโดย ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ซึ่งฐานข้อมูลดิบ มาจากฐานข้อมูลหลักประกันของธนาคารอาคารสงเคราะห์ เนื่องจากธนาคารอาคารสงเคราะห์ครอบครองตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัยสาหรับบุคคลผู้มีรายได้ปานกลางลงมาเป็ นส่วนใหญ่ ดังนัน้ดัชนีราคานีจึ้งสะท้อนการเปลี่ยนแปลงระดับราคาโดยทวั่ ไปของที่อยู่อาศัยสาหรับผู้มีรายได้ปานกลางลงมาได้ดี ซึ่งการจัดทาดัชนีจะใช้ข้อมูล เฉพาะที่อยู่อาศัย ในเขตกรุงเทพกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 3 จังหวัด คือ นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ และเป็ นที่อยู่อาศัย 2 ประเภทหลัก คือ บ้านเดี่ยวและทาวเฮ้าส์ เท่านัน้ โดยแบ่งการจัดทาดัชนีราคาที่อยู่อาศัย เป็ นดัชนีย่อย 5 ดัชนี คือ ดัชนีราคาที่ดิน ดัชนีราคาบ้านเดี่ยวไม่รวมที่ดิน ดัชนีราคาทาวเฮ้าส์ไม่รวมที่ดิน ดัชนีราคาบ้านเดี่ยวพร้อมที่ดิน และ ดัชนีราคาทาวเฮ้าส์พร้อมที่ดิน ซึ่งจะจัดทาข้อมูลดัชนีเป็นรายไตรมาสและใช้ข้อมูลปี 2534 เป็ นปี ฐาน ซึ่งในที่นีจ้ ะใช้ ดัชนีราคาบ้านเดี่ยวพร้อมที่ดินเป็นข้อมูลในการคานวณ 4. ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง 4.1 หลักการและเหตุผล 4.1.1. การจัดทาดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง เป็นดัชนีราคาชุดหนึ่งที่ได้จัดทาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้วัดการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าวัสดุก่อสร้าง ซึ่งเป็นต้นทุนส่วนหนึ่งของการก่อสร้างต่าง ๆ จัดทาโดย สานักเศรษฐกิจและการค้า กระทรวงพาณิชย์ 4.1.2. เนื่องจากอุตสาหกรรมก่อสร้างมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมทาให้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทัง้ คุณภาพและรูปแบบ ส่งผลให้ความนิยมการใช้สินค้าวัสดุก่อสร้างเปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี ้ การก่อสร้ างสิ่งก่อสร้ างประเภทต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลาทาใดส่วนการใช้สินค้าแต่ละชนิดเปลี่ยนแปลงไปด้วย ดังนัน้ จึงต้องมีการปรับปรุงนา้ หนักรายการสินค้าต่าง ๆ เพื่อให้ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างมีความถูกต้อง ทันสมัยสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของราคาวัสดุก่อสร้างในภาพรวมได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากขึน้ 4.1.3. การปรับปรุงนา้ หนักสินค้าวัสดุก่อสร้ าง ใช้ข้อมูลจากตารางปัจจัยการผลิตและ ผลผลิตของประเทศไทย ปี 2543 ที่สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตเิ ป็นผู้จัดทาและเสร็จสมบูรณ์ในกลางปี 2547 สานักดัชนี ฯ จึงได้ดาเนินการปรับปรุงนา้ หนักสินค้าวัสดุก่อสร้ าง ให้สอดคล้องกับโครงสร้ างของการก่อสร้ างใหม่ นอกจากนี ้ ยังได้ใช้ข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนประกอบการพิจารณา เช่น สานักงบประมาณ กระทรวงอุตสาหกรรม บริษัทผู้แทนจาหน่าย เป็นต้น 4.2. รายละเอียดของการปรับปรุง 4.2.1. รายการสินค้า พิจารณาจากการสารวจ และผลการวิจัยของศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้จากการใช้บัญชีปริมาณและแบบสัมภาษณ์ทัง้ หน่วยงานของรัฐและเอกชน ส่วนการแบ่งหมวดสินค้าใช้ตามโครงสร้างเดิม คือมี 2 รายการหลักดังนี ้
4.2.1.1. เพิ่มรายการสินค้าที่มีความสาคัญมากขึน้ เช่น ท่อเหล็กเคลือบสังกะสี ตะแกรงเหล็ก คานคอนกรีตอัดแรง สีทาถนน เป็ นต้น นอกจากนี ้ยังได้เพิ่มลักษณะจำเพาะของรายการสินค้าให้มีความหลากหลาย และคลอบคลุมมากขึน้ ด้วย 4.3. จัดเก็บข้อมูลราคาจาก ผู้แทนจาหน่ายหรือร้ านค้าส่ง ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มโดยกาหนดแหล่ง จดั เก็บในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เปรียบเทียบสัดส่วนนา้ หนักปี ฐาน2538 และ ปีฐาน 2543 โดยจัดเก็บข้อมูลเป็นรายไตรมาส 5. อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ หมายถึง ผลตอบแทนหรือจานวนเงินที่ผู้กู้ต้องจ่ายชาระให้แก่ผู้ให้กู้ โดยข้อมูลที่นามาใช้จะเป็น อัตราดอกเบีย้ ลูกค้ารายใหญ่ชัน้ ดี (MLR: Minimum Loan Rate)โดยใช้ข้อมูลจาก 5 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ จัดเก็บข้อมูลโดย ธนาคาแห่งประเทศไทย 6. บริษัทที่ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หมายถึง บริษัทมหาชน ที่มีการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในที่นีจ้ ะมุ่งศึกษาเฉพาะรายได้ของบริษัทที่ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับที่อยู่อาศัย 7. ราคานา้ มันในตลาดโลก หมายถึง ราคานา้ มันดิบ Brent ซึ่งเป็ นราคาที่ซือ้ ขายในตลาดโลก และเป็นราคาอ้างอิงในตลสาหรับซือ้ ขายนา้ มันในตลาดซือ้ ขายนา้ มันที่สิงค์โปร ซึ่งมีผลต่อราคานา้ มันขายปลีกในประเทศไทย 8. สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ของธนาคารพาณิชย์ เป็นข้อมูลยอดคงค้างของสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ที่ให้แก่ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ และผู้ซือ้ อสังหาริมทรัพย์ ณ วันสุดท้ายของเวลาที่รายงาน
|